1. เหล็กกลม
เส้นผ่าศูนย์กลาง (ซม.) x เส้นผ่าศูนย์กลาง (ซม.) x ความยาว (ซม.) x 0.0062 = น้ำหนัก (กก.)
2. เหล็กสี่เหลี่ยม
ขนาด (ซม.) x ขนาด (ซม.) x ความยาว (ซม.) x 0.0079 = น้ำหนัก (กก.)
3. เหล็กหกเหลี่ยม
ขนาด (ซม.) x ขนาด (ซม.) x ความยาว (ซม.) x 0.0068 = น้ำหนัก (กก.)
4. เหล็กแปดเหลี่ยม
ขนาด (ซม.) x ขนาด (ซม.) x ความยาว (ซม.) x 0.0065 = น้ำหนัก (กก.)
5. เหล็กแบน
ความหนา (ซม.) x ความกว้าง (ซม.) x ความยาว (ซม.) x 0.0079 = น้ำหนัก (กก.)
6. เหล็กแผ่น
ความหนา (มม.) x ความกว้าง (ฟุต) x ความยาว (ฟุต) x 0.7293 = น้ำหนัก (กก.)
โดย เอกสตีล คลอง 8 จำหน่ายเหล็ก
อย่างถ้าเหล็ก หนา 1.2 มม. กว้าง 100 มม. หน้า 1219 มม. อ่ะครับ ต้องใช้สูตรไหน แล้วน้ำหนักจะเป็นเท่าไหร่หรอครับ งง
6000 mm = 1 m. ก้อเอา 0.88704 x 6 =5.32224 ก้อคือน้ำหนักของ
12 x 12 x 6000 จ้า (คิดว่านะ)
ตย. เหล็ก 12 มม
พท.หน้าตัด
Pi /4 x D^2
(3.141/4) x1.2^2 * .7853 x ความยาว
=0.888
ขอบคุนคับ
แล้วค่าที่ไว้คูณ ตอนท้ายสมการหน่ะครับ คือค่าไรหรอ มีท่ีมาป่าวครับ ถ้ามีข้อด้วนยะครับ
ขอบคุณมากครับ
อยากเรียนรู้เรื่องเหล็ก(ไม่เคยรู้เลยอ่ะ) จะเริ่มยังไงดีคะ